เว็บบอร์ดไทยเคมีสิ่งทอ (TTCEXPERT.COM)
Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

+3
piyawan52145TCE
AliCeNinE22
Admin
7 posters

Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  Admin Mon Aug 08, 2011 2:32 pm

ส่งภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2554 Very Happy
Admin
Admin
Admin

จำนวนข้อความ : 112
Join date : 27/01/2010
ที่อยู่ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถนนรังสิต-นครนายก ต.คลองหก อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี

https://ttcexpert.thai-forum.net

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty Re: จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  AliCeNinE22 Sun Aug 14, 2011 7:43 pm

เกลือ Exclamation

เกลือ เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยไอออนบวกของโลหะ (a positive metallic ion) (รวมทั้งไฮโดรเจนไอออน) และสารไอออนลบของอโลหะ (a negative nonmetallic ion) (รวมทั้ง hydroxide ion) หากเกลือละลายในน้ำจะได้ ion บวกและ ion ลบ เช่น
NaCl Na+ + Cl-
K2SO4 2K+ + SO4-
เกลือเป็นคำทั่ว ๆ ไปที่เรียกกัน ความจริงเกลือเป็นสารประกอบซึ่งมีหลายชนิด อย่าได้เข้าใจว่าเกลือทุกชนิดคือเกลือแกง ( NaCl ) เกลือบางชนิดมีรสเปรี้ยว, บางชนิดมีรสเฝื่อนหรือขม, บางชนิดมีรสเค็ม, บางชนิดละลายน้ำ, บางชนิดไม่ละลายน้ำ, บางชนิดละลายน้ำได้เล็กน้อย ดังเช่น
เกลือที่ละลายน้ำ ได้แก่ เกลือโซเดียม, เกลือโปตัสเซียม, เกลือแอมโมเนียม, เกลืออาซีเตท (acetate) , เกลือไนเตรท (nitrate) , เกลือของคลอไรด์ (ยกเว้นคลอไรด์ของเงิน ตะกั่ว และ ปรอท)

เกลือซัลเฟต (ยกเว้นเกลือซัลเฟตของแคลเซียม แบเรียม และตะกั่ว)
เกลือที่ไม่ละลายน้ำ ได้แก่
· คาร์โบเนท ( carbonate ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium
· ฟอสเฟต ( phosphate ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium
· ซัลไฟด์ ( sulfides ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium

ตัวอย่างความสามารถในการละลายของเกลือบางชนิด
· Sodium chloride (NaCl) ละลาย
· Silver chloride (AgCl) ไม่ละลาย
· Sodium sulfate (Na2SO4) ละลาย
· Zinc nitrate Zn(NO3)2 ละลาย
· Barium sulfate (BaSO4 ) ไม่ละลาย
· Calcium phosphate Ca3(PO4)2 ไม่ละลาย
· Magnesium carbonate (MgCO3) ไม่ละลาย
ชนิดของเกลือ เกลือแบ่งออกเป็น
Normal Salts ประกอบด้วย metallic ion และ non-metallic ion ไม่มีไฮโดรเจนไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนอยู่ในโมเลกุล ซึ่งได้จากการแทนที่ไฮโดรเจนของกรดทั้งหมดโดยโลหะ เช่น เกลือแกง ( NaCl )
Acid Salts มีเกลือบางชนิดที่ไฮโดรเจนไอออนในกรดไม่ได้ถูกแทนที่หมดโดยโลหะ เช่น
2 NaOH + H2SO4 Na2SO4 + 2H2O
Normal salt
ประโยชน์ของเกลือ
เกลือจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต และ metabolism ในร่างกาย เช่น เกลือของเหล็ก (iron salt) จำเป็นสำหรับการสร้างฮีโมโกลบิน, เกลือของไอโอดีน (iodine salts) จำเป็นสำหรับการทำหน้าที่ของต่อมไทรอยด์, เกลือของแคลเซียมและฟอสเฟต (calcium and phosphate salts) จำเป็นสำหรับการสร้างกระดูกและฟัน, เกลือของโซเดียมและโปตัสเซียม (sodium and potassium salts) ช่วยควบคุมความสมดุลกรดด่างในร่างกาย, เกลือบางชนิดควบคุมการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ, บางชนิดควบคุมการเต้นของหัวใจ, ช่วยรักษาระดับ osmotic pressure ของเซลล์, เกลือบางชนิดใช้ประโยชน์เฉพาะทางยา


ตัวอย่างเกลือและประโยชน์ของเกลือ
Potassium iodide (KI) เป็นผลึกขาว เติมลงไปในเกลือแกง เพื่อทำเกลืออนามัย เพื่อเพิ่มไอโอดีนแก่ร่างกาย ใช้เป็น Thyroid treatment ในทางแพทย์
Potassium nitrile (KNO2) , Sodium nitrile (NaNO2) ใส่ในเนื้อกระป๋องหรืออาหารจำพวกเนื้อ เช่น แหนม ไส้กรอก เพื่อให้เกิดสีแดงแก่เนื้อ
Sodium Chloride (NaCl) เป็นผลึกสีขาว ช่วยในการถนอมอาหาร ปรุงรสอาหาร ใช้เป็นน้ำเกลือตามโรงพยาบาล
Sodium Sulfate (Na2SO4) ใช้เป็นส่วนประกอบของผงซักฟอก
Potassium hydrogen tartate (cream of tartar) ผลึกสีขาวใช้เป็นส่วนประกอบของผงฟู
Sodium bicarbonate (NaHCO3) เป็นผลึกสีขาว ใช้ในการแก้น้ำกระด้าง ใช้ในการซักรีดเสื้อผ้า และทางการแพทย์ใช้เป็นยาลดกรด
Potassium aluminium sulfate หรือสารส้ม K2SO4Al (SO4)3.24H2O เป็นของแข็ง ใช้เป็นสารกันฝาดและทำให้ตะกอนในน้ำรวมกัน
Calcium carbonate (CaCO3) ใช้เป็นยาลดกรด (antacid)
Sodium sulfate (Na2SO4) ใช้เป็นยาถ่าย
Magnesium sulfate (MgSO4) ใช้เป็นยาถ่าย
Magnesium carbonate (MgCO3) ใช้เป็นยาถ่าย
Potassium sodium tartate (KNaC4H4O6.4H2O) ใช้เป็นยาถ่าย
Silver Nitrate (AgNO3) ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
Barium sulfate (BaSO4) ใช้ในการเคลือบกระเพาะและลำไส้ ใช้ในการตรวจสอบกระเพาะอาหาร
Ferrous sulfate (FeSO4) แก้โรคโลหิตจาง ( anemia )
Calcium chloride (CaCl2) ช่วยให้เลือดแข็งตัวเร็วขึ้น
Ammonium carbonate [( NH4 )2CO3.H2O] ใช้เป็นยาขับเสมหะ
ขบวนการสะเทิน (Neutralization) หมายถึงปฏิกิริยาระหว่างกรดกับด่าง เกิดเกลือ และ น้ำ

[ นาย เลิศศักดิ์ ]
[ นางสาว สุมินตรา ]
[ นางสาว นภัสสร ]
AliCeNinE22
AliCeNinE22

จำนวนข้อความ : 2
Join date : 25/06/2010

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty Re: จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  piyawan52145TCE Sun Aug 14, 2011 11:10 pm

Admin พิมพ์ว่า:ส่งภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2554 Very Happy
เกลือ เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยไอออนบวกของโลหะ (a positive metallic ion) (รวมทั้งไฮโดรเจนไอออน) และสารไอออนลบของอโลหะ (a negative nonmetallic ion) (รวมทั้ง hydroxide ion) หากเกลือละลายในน้ำจะได้ ion บวกและ ion ลบ เช่น
NaCl Na+ + Cl-
K2SO4 2K+ + SO4-
เกลือเป็นคำทั่ว ๆ ไปที่เรียกกัน ความจริงเกลือเป็นสารประกอบซึ่งมีหลายชนิด อย่าได้เข้าใจว่าเกลือทุกชนิดคือเกลือแกง ( NaCl ) เกลือบางชนิดมีรสเปรี้ยว, บางชนิดมีรสเฝื่อนหรือขม, บางชนิดมีรสเค็ม, บางชนิดละลายน้ำ, บางชนิดไม่ละลายน้ำ, บางชนิดละลายน้ำได้เล็กน้อย ดังเช่น
เกลือ ที่ละลายน้ำ ได้แก่ เกลือโซเดียม, เกลือโปตัสเซียม, เกลือแอมโมเนียม, เกลืออาซีเตท (acetate) , เกลือไนเตรท (nitrate) , เกลือของคลอไรด์ (ยกเว้นคลอไรด์ของเงิน ตะกั่ว และ ปรอท)

เกลือซัลเฟต (ยกเว้นเกลือซัลเฟตของแคลเซียม แบเรียม และตะกั่ว)
เกลือที่ไม่ละลายน้ำ ได้แก่
• คาร์โบเนท ( carbonate ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium
• ฟอสเฟต ( phosphate ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium
• ซัลไฟด์ ( sulfides ) ยกเว้น โซเดียม, โปตัสเซียม และ ammonium

ชนิดของเกลือ เกลือแบ่งออกเป็น
Normal Salts ประกอบด้วย metallic ion และ non-metallic ion ไม่มีไฮโดรเจนไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนอยู่ในโมเลกุล ซึ่งได้จากการแทนที่ไฮโดรเจนของกรดทั้งหมดโดยโลหะ เช่น เกลือแกง ( NaCl )
Acid Salts มีเกลือบางชนิดที่ไฮโดรเจนไอออนในกรดไม่ได้ถูกแทนที่หมดโดยโลหะ เช่น
2 NaOH + H2SO4 Na2SO4 + 2H2O
Normal salt
ประโยชน์ของเกลือ
เกลือ จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต และ metabolism ในร่างกาย เช่น เกลือของเหล็ก (iron salt) จำเป็นสำหรับการสร้างฮีโมโกลบิน, เกลือของไอโอดีน (iodine salts) จำเป็นสำหรับการทำหน้าที่ของต่อมไทรอยด์, เกลือของแคลเซียมและฟอสเฟต (calcium and phosphate salts) จำเป็นสำหรับการสร้างกระดูกและฟัน, เกลือของโซเดียมและโปตัสเซียม (sodium and potassium salts) ช่วยควบคุมความสมดุลกรดด่างในร่างกาย, เกลือบางชนิดควบคุมการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ, บางชนิดควบคุมการเต้นของหัวใจ, ช่วยรักษาระดับ osmotic pressure ของเซลล์, เกลือบางชนิดใช้ประโยชน์เฉพาะทางยา



ตัวอย่างเกลือและประโยชน์ของเกลือ
Potassium iodide (KI) เป็นผลึกขาว เติมลงไปในเกลือแกง เพื่อทำเกลืออนามัย เพื่อเพิ่มไอโอดีนแก่ร่างกาย ใช้เป็น Thyroid treatment ในทางแพทย์
Potassium nitrile (KNO2) , Sodium nitrile (NaNO2) ใส่ในเนื้อกระป๋องหรืออาหารจำพวกเนื้อ เช่น แหนม ไส้กรอก เพื่อให้เกิดสีแดงแก่เนื้อ
Sodium Chloride (NaCl) เป็นผลึกสีขาว ช่วยในการถนอมอาหาร ปรุงรสอาหาร ใช้เป็นน้ำเกลือตามโรงพยาบาล
Sodium Sulfate (Na2SO4) ใช้เป็นส่วนประกอบของผงซักฟอก
Potassium hydrogen tartate (cream of tartar) ผลึกสีขาวใช้เป็นส่วนประกอบของผงฟู
Sodium bicarbonate (NaHCO3) เป็นผลึกสีขาว ใช้ในการแก้น้ำกระด้าง ใช้ในการซักรีดเสื้อผ้า และทางการแพทย์ใช้เป็นยาลดกรด
Potassium aluminium sulfate หรือสารส้ม K2SO4Al (SO4)3.24H2O เป็นของแข็ง ใช้เป็นสารกันฝาดและทำให้ตะกอนในน้ำรวมกัน
Calcium carbonate (CaCO3) ใช้เป็นยาลดกรด (antacid)
Sodium sulfate (Na2SO4) ใช้เป็นยาถ่าย
Magnesium sulfate (MgSO4) ใช้เป็นยาถ่าย
Magnesium carbonate (MgCO3) ใช้เป็นยาถ่าย
Potassium sodium tartate (KNaC4H4O6.4H2O) ใช้เป็นยาถ่าย
Silver Nitrate (AgNO3) ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
Barium sulfate (BaSO4) ใช้ในการเคลือบกระเพาะและลำไส้ ใช้ในการตรวจสอบกระเพาะอาหาร
Ferrous sulfate (FeSO4) แก้โรคโลหิตจาง ( anemia )
Calcium chloride (CaCl2) ช่วยให้เลือดแข็งตัวเร็วขึ้น
Ammonium carbonate [( NH4 )2CO3.H2O] ใช้เป็นยาขับเสมหะ
ขบวนการสะเทิน (Neutralization) หมายถึงปฏิกิริยาระหว่างกรดกับด่าง เกิดเกลือ และ น้ำ


นางสาวพัชรินทร์ ขุมทรัพย์ รหัส 115210452008-3
นางสาวปิยะวรรณ หอมหวล รหัส 115210452066-1

piyawan52145TCE

จำนวนข้อความ : 1
Join date : 12/08/2011

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty เกลือ

ตั้งหัวข้อ  supika Sun Aug 14, 2011 11:14 pm

เกลือ เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยไอออนบวกของโลหะ (a positive metallic ion) (รวมทั้งไฮโดรเจนไอออน) และสารไอออนลบของอโลหะ (a negative nonmetallic ion) (รวมทั้ง hydroxide ion) หากเกลือละลายในน้ำจะได้ ion บวกและ ion ลบ

เกลือคลอไรด์
เรียกอีกอย่างว่า เกลือแกงเป็นเกลือปกติ มีสูตรเคมี: NaCl มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหารและประโยชน์ในด้านต่างๆ
ใช้ในหมึกพิมพ์ผ้าในอุตสาหกรรมสิ่งทอ
ใช้ในการผลิตกระดาษ
ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก
ใช้ในการละลายน้ำแข็งที่เกาะบนพื้นถนน ในช่วงฤดูหนาวที่อุณภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต คลอรีน พีวีซี และยาฆ่าแมลง
เกลือซัลเฟต
เป็นเกลือของกรดกำมะถัน เมื่อปราศจากน้ำจะเป็นผลึกสีขาว มีสูตร Na2SO4
ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสบู่ ผงซักฟอก สีย้อม แก้ว กระดาษ.


น.ส ผกาพรรณ มิ่งมาลัยรักษ์ 115110452002-8
น.ส ศุภิกา เทือกไชยคำ 115210452040-6
นาย อนิรุทธิ์ เสมอชาติ 115210452054-7


แก้ไขล่าสุดโดย supika เมื่อ Sun Aug 14, 2011 11:44 pm, ทั้งหมด 1 ครั้ง

supika

จำนวนข้อความ : 1
Join date : 11/08/2011

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty Re: จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  Lukkana Dua-kam Sun Aug 14, 2011 11:28 pm

เกลือคลอไรด์หรือโซเดียมคลอไรด์ (อังกฤษ: Sodium chloride, สูตรเคมี: NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ ฮาไลต์ เป็นสารประกอบเคมี ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายน้ำได้ มีความสามารถในการละลายน้ำที่ดี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร
ในขณะที่ผู้คนจำนวนมากคุ้นเคยกับการใช้เกลือ ปรุงอาหาร แต่พวกเขาอาจไม่รู้ว่าเกลือใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น
ใช้ในการผลิตกระดาษ
ใช้ในหมึกพิมพ์ผ้าในอุตสาหกรรมเท็กไทล์
ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก
ใช้ในการละลายน้ำแข็งที่เกาะบนพื้นถนน ใน แคนาดาและสหรัฐอเมริกา ในช่วงฤดูหนาวที่อุณภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต คลอรีน พีวีซี และยาฆ่าแมลง

สูตรเคมี NaCl
มวลต่อหนึ่งโมล 58.44 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colorless/white crystalline solid
กลิ่น Odorless
ความหนาแน่น 2.16 g/cm3
จุดหลอมเหลว 801 °C (1074 K)
จุดเดือด 1465 °C (1738 K)
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 35.9 g/100 mL (25 °C)
ดัชนีหักเหแสง (nD)1.544 (589 nm)

เกลือซัลเฟต สูตรทางเคมีว่า Na2SO4 ดีเกลือชนิดที่เป็นเกลือซัลเฟตของโซเดียม หรือเรียกง่ายๆว่า "โซเดียมซัลเฟต" มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสเค็มหรืออาจขมนิดหน่อย ช่วยในการย้อมสีอุตสาหกรรมฟอกย้อม ไล่ฟองอากาศในอุตสาหกรรมแก้ว มีคุณสมบัติเป็นถ่ายพิษเสมหะและโลหิต ถ่ายอุจจาระ ถ่ายพรรดึก ทำให้เส้นเอ็นหย่อน

สูตรเคมี Na2SO4
มวลต่อหนึ่งโมล 142.04 g/mol (anhydrous) 322.20 g/mol (decahydrate)
ลักษณะทางกายภาพ white crystalline solid hygroscopic
ความหนาแน่น 2.664 g/cm3 (anhydrous) 1.464 g/cm3 (decahydrate)
จุดหลอมเหลว 884 °C (anhydrous) 32.4 °C (decahydrate)
จุดเดือด 1429 °C (anhydrous)
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ4.76 g/100 ml (0 °C) 42.7 g/100 ml (100 °C)
ความสามารถละลายได้ insoluble in ethanol
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.468 (anhydrous) 1.394 (dechydrate)


นายธนพงษ์ พงษ์สุวรรณ 115210452029-9
นายทศพล จันทร์ดวง 115210452042-2
นางสาวดาวประกาย แก้วเรือง 115210452059-6
นางสาวลักขณา เดื่อคำ 115210452069-5
(D3B)
Lukkana Dua-kam
Lukkana Dua-kam

จำนวนข้อความ : 2
Join date : 14/07/2010

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty Re: จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  sawarin limket Sun Aug 14, 2011 11:53 pm

เกลือคลอไรด์หรือโซเดียมคลอไรด์ (อังกฤษ: Sodium chloride, สูตรเคมี: NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ ฮาไลต์ เป็นสารประกอบเคมี ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายน้ำได้ มีความสามารถในการละลายน้ำที่ดี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร
ในขณะที่ผู้คนจำนวนมากคุ้นเคยกับการใช้เกลือ ปรุงอาหาร แต่พวกเขาอาจไม่รู้ว่าเกลือใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น
ใช้ในการผลิตกระดาษ
ใช้ในหมึกพิมพ์ผ้าในอุตสาหกรรมเท็กไทล์
ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก
ใช้ในการละลายน้ำแข็งที่เกาะบนพื้นถนน ใน แคนาดาและสหรัฐอเมริกา ในช่วงฤดูหนาวที่อุณภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต คลอรีน พีวีซี และยาฆ่าแมลง

สูตรเคมี NaCl
มวลต่อหนึ่งโมล 58.44 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ Colorless/white crystalline solid
กลิ่น Odorless
ความหนาแน่น 2.16 g/cm3
จุดหลอมเหลว 801 °C (1074 K)
จุดเดือด 1465 °C (1738 K)
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 35.9 g/100 mL (25 °C)
ดัชนีหักเหแสง (nD)1.544 (589 nm)

เกลือซัลเฟต สูตรทางเคมีว่า Na2SO4 ดีเกลือชนิดที่เป็นเกลือซัลเฟตของโซเดียม หรือเรียกง่ายๆว่า "โซเดียมซัลเฟต" มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสเค็มหรืออาจขมนิดหน่อย ช่วยในการย้อมสีอุตสาหกรรมฟอกย้อม ไล่ฟองอากาศในอุตสาหกรรมแก้ว มีคุณสมบัติเป็นถ่ายพิษเสมหะและโลหิต ถ่ายอุจจาระ ถ่ายพรรดึก ทำให้เส้นเอ็นหย่อน

สูตรเคมี Na2SO4
มวลต่อหนึ่งโมล 142.04 g/mol (anhydrous) 322.20 g/mol (decahydrate)
ลักษณะทางกายภาพ white crystalline solid hygroscopic
ความหนาแน่น 2.664 g/cm3 (anhydrous) 1.464 g/cm3 (decahydrate)
จุดหลอมเหลว 884 °C (anhydrous) 32.4 °C (decahydrate)
จุดเดือด 1429 °C (anhydrous)
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ4.76 g/100 ml (0 °C) 42.7 g/100 ml (100 °C)
ความสามารถละลายได้ insoluble in ethanol
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.468 (anhydrous) 1.394 (dechydrate)


นางสาว นุจรินทร์ ดวงลูกแก้ว
นางสาว วราลักษณ์ จีรกุล
นาย สิปปวิท สวนแก้ว
นางสาว สวรินทร์ ลิ้มเกตุ

sawarin limket

จำนวนข้อความ : 1
Join date : 14/08/2011

ขึ้นไปข้างบน Go down

จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต Empty Re: จงอธิบายความแตกต่างระหว่างเกลือคลอไรด์ กับเกลือซัลเฟต

ตั้งหัวข้อ  Aonzmoo Mon Aug 15, 2011 3:24 pm

ในการย้อมสี เมื่อเติมเกลือลงไป เกลือจะทำหน้าที่ลดประจุลบบนผิวหน้าของเส้นใยเซลลูโลสโดยประจุลบของเกลือจะผลักประจุลบของสีย้อม ให้เข้าใกล้เส้นใยได้มากขึ้น เกลือที่นิยมใช้คือ

1. เกลือคลอไรด์[/u][/u]หรือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) มีชื่อที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ ฮาไลต์ เป็นสารประกอบเคมี ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายน้ำได้ มีความสามารถในการละลายน้ำที่ดี โซเดียมคลอไรด์เป็นเกลือที่มีบทบาทต่อความเค็มของมหาสมุทร และของเหลวภายนอกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักในเกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็นเครื่องปรุงรส และใช้ในการถนอมอาหาร

ในขณะที่ผู้คนจำนวนมากคุ้นเคยกับการใช้เกลือ ปรุงอาหาร แต่พวกเขาอาจไม่รู้ว่าเกลือใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย เช่น
ใช้ในการผลิตกระดาษ
ใช้ในหมึกพิมพ์ผ้าในอุตสาหกรรมเท็กไทล์
ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก
ใช้ในการละลายน้ำแข็งที่เกาะบนพื้นถนน ใน แคนาดาและสหรัฐอเมริกา ในช่วงฤดูหนาวที่อุณภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งของน้ำ
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต คลอรีน พีวีซี และยาฆ่าแมลง

2.เกลือซัลเฟต สูตรทางเคมีว่า Na2SO4 ดีเกลือชนิดที่เป็นเกลือซัลเฟตของโซเดียม หรือเรียกง่ายๆว่า "โซเดียมซัลเฟต" มีลักษณะเป็นผงสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสเค็มหรืออาจขมนิดหน่อย ช่วยในการย้อมสีอุตสาหกรรมฟอกย้อม ไล่ฟองอากาศในอุตสาหกรรมแก้ว มีคุณสมบัติเป็นถ่ายพิษเสมหะและโลหิต ถ่ายอุจจาระ ถ่ายพรรดึก ทำให้เส้นเอ็นหย่อน

จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่า เกลือซัลเฟตแตกตัวให้ประจุลบมากกว่าเกลือคลอไรด์ ดังนั้น ในการย้อมสี เกลือซัลเฟตจะทำหน้าที่ลดประจุลบบนผิวหน้าเส้นใยได้ดีกว่าเกลือคลอไรด์ และทำให้สีย้อมติดบนเส้นใยได้มากกว่า

นางสาวนภัทรตรี นิลสนธิ 115210452020-8
นายชัยกมล พรมชาติ 115210452034-9
นายสุศักดิ์ แก้วทอง 115210452052-1
นางสาวใบฟาง ศิรินันท์ 115210452071-1

Aonzmoo

จำนวนข้อความ : 1
Join date : 15/08/2011

ขึ้นไปข้างบน Go down

ขึ้นไปข้างบน


 
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ